วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
โครงสร้างทางสังคม
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก ๆ สังคม อ่านเพิ่มเติม
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาทางสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม
แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม
แนวทางการแก้ไข
1 รัฐบาลควรออกระเบียบ กฎเกณฑ์ และกฎหมาย เพื่อกำหนดมาตรการการป้องกัน และปราบปรามผู้กระทำผิดอย่างจริงจังและแน่นอน
2 วางแผนและนโยบายการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อรณรงค์และอนุรักษ์ อ่านเพิ่มเติม
1 รัฐบาลควรออกระเบียบ กฎเกณฑ์ และกฎหมาย เพื่อกำหนดมาตรการการป้องกัน และปราบปรามผู้กระทำผิดอย่างจริงจังและแน่นอน
2 วางแผนและนโยบายการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อรณรงค์และอนุรักษ์ อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม หรือบริบทของสังคมนั้นๆ แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน อ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดี
การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขนั้น สมาชิกในสังคมต้องปฏิบัติตนเป็นคนดี โดยเริ่มตั้งแต่การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีต่อครอบครัวและโรงเรียนในวัยเด็ก ซึ่งเป็นพื้นฐานในการใช้ชีวิตในอนาคตต่อไป อ่านเพิ่มเติม
คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
องค์การตรวจสอบอำนาจรัฐแห่งชาติ เป็นองค์การในประเทศไทยที่ตั้งขึ้นภายใต้เจตนารมณ์ของกฎบัตรสหประชาชาติ และได้รับรองความถูกต้องโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ 59/96 อ่านเพิ่มเติม
สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย
การเมืองไทยในปัจจุบัน อยู่ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประมุขของรัฐบาล และพระมหากษัตริย์ซึ่งทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นประมุขแห่งรัฐ ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน อ่านเพิ่มเติม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
1. ชื่อบุคคล เป็นเครื่องบ่งชี้เฉพาะบุคคล ประกอบด้วยชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล (แต่คนไทยไม่นิยมใช้ชื่อรอง) อ่านเพิ่มเติม
1. ชื่อบุคคล เป็นเครื่องบ่งชี้เฉพาะบุคคล ประกอบด้วยชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล (แต่คนไทยไม่นิยมใช้ชื่อรอง) อ่านเพิ่มเติม
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
แผนปฏิบัติการเกี่ยวกับชั้นโอโซน
ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติิ(United Nations Environment Programme, UNEP) อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติิ(United Nations Environment Programme, UNEP) อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษชน
สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง อ่านเพิ่มเติม
การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย
1. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ อ่านเพิ่มเติม
1. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ อ่านเพิ่มเติม
การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ไทย – สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อ่าเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)